วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วิชาปรัชญาเบื้องต้น

วิชาปรัชญาเบื้องต้นบทที่ 1
ธรรมชาติและอัตลักษณ์ของวิชาปรัชญา
1. ความหมายของปรัชญา
2. แนวทางและความท้าทายของการศึกษาปรัชญา
3. ปัญหาและเป้าหมายของปรัชญา
4. อัตลักษณ์และข้อสังเกตเกี่ยวกับปรัชญา
5. คำแนะนำบางประการในการศึกษาวิชาปรัชญา
6. สรุปประจำบท คำถามประจำบทที่ 1 วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 2
บทที่ 2 ประเภทและสาขาของวิชาปรัชญา
1. ประเภทของปรัชญา
1.1 ปรัชญาบริสุทธิ์
1.2 ปรัชญาประยุกต์
2. สาขาของปรัชญา
2.1 อภิปรัชญา
2.2 ญาณวิทยา
2.3 คุณวิทยา
3. สรุปประจำบท คำถามประจำบทที่ 2 วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 3
บทที่ 3 กำเนิด พัฒนาการ การแบ่งยุคสมัยและภาพรวมของปรัชญา
1. กำเนิดและพัฒนาการแนวคิดทางปรัชญาฯ
2. พัฒนาการและภาพรวมของปรัชญาตะวันออก
2.1 ปรัชญาอินเดีย
2.2 ปรัชญาจีน
2.3 เปรียบเทียบปรัชญาอินเดียกับปรัชญาจีน
3. พัฒนาการและภาพรวมของปรัชญาตะวันตก
3.1 ปรัชญาตะวันตกยุคกรีกโบราณ
3.2 ปรัชญาตะวันตกยุคกลาง
3.3 ปรัชญาตะวันตกยุคใหม่
3.4 ปรัชญาตะวันตกยุคปัจจุบัน
4. เปรียบเทียบปรัชญาตะวันตกกับปรัชญาตะวันออก
5. สรุปประจำบท คำถามประจำบทที่ 3 วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 4
บทที่ 4 สังเขปแนวคิดทางปรัชญาที่สำคัญ
1. ทฤษฏีทางอภิปรัชญา
2. ทฤษฏีทางญาณวิทยา
3. ทฤษฏีทางคุณวิทยา
3.1 ทฤษฏีทางจริยศาสตร์
3.2 ทฤษฏีทางสุนทรียศาสตร์
4. สรุปประจำบท คำถามประจำบทที่ 4 วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 5
บทที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับวิทยาศาสตร์ ศาสนาและความเชื่อคริสตชน
1. ธรรมชาติและปัญหาเรื่องความสัมพันธ์
2. ความสัมพันธ์ของปรัชญากับวิทยาศาสตร์
3. ความสัมพันธ์ของปรัชญากับศาสนา
4. ปรัชญากับความเชื่อคริสตชน
5. สรุปประจำบท คำถามประจำบทที่ 5วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 6
บทที่ 6 คำศัพท์ปรัชญาที่ควรรู้
1. ความสำคัญและปัญหาเรื่องศัพท์ปรัชญา
2. แนะนำตัวอย่างหนังสือกำหนดคำและนิยามศัพท์เชิงปรัชญา
3. คำแนะนำต่อการทำความเข้าใจคำศัพท์ปรัชญา
4. คำศัทพ์ปรัชญา (บางคำ) ที่ควรรู้และตัวอย่างการนิยามศัพท์
5. สรุปประจำบท คำถามประจำบทที่ 6วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 7
บทที่ 7 สรุปการเรียนการสอน (บูรณาการความรู้)คำถามประจำบทที่ 7บรรณานุกรม ภาคผนวก
1. ระบบการศึกษาอบรมของวิทยาลัยแสงธรรม
2. ภาพรวมและอัตลักษณ์การศึกษาวิชาปรัชญาของวิทยาลัยแสงธรรม

ไม่มีความคิดเห็น: